Category Archives: เขตราชเทวี

เขตราชเทวี

เขตราชเทวี is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by address the focus keyphrase name in category.

เขตราชเทวี Khet Ratcha Thewi is one of 50 districts of กรุงเทพมหานคร Bangkok, Thailand.

เขตราชเทวี – วิกิพีเดีย

ติดต่อเรา – สำนักงานเขตราชเทวี – กรุงเทพมหานคร

สำนักงานเขตราชเทวี – หน้าหลัก | Facebook

บริษัท เอ็มเค เมทัลชีท โปรดักส์ จำกัด

MK Metalsheet Products Company Limited

เขตราชเทวี เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ที่มาของชื่อเขต[แก้]

สมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี

ชื่อเขตตั้งตามสี่แยกราชเทวีซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนพญาไทกับถนนเพชรบุรี โดยมาจากชื่อ สะพานพระราชเทวี ซึ่งข้ามคลองประแจจีน (ปัจจุบันถูกถมไปแล้ว) บนถนนพญาไท ก่อนเข้าถนนเพชรบุรี

โดยคำว่า “พระราชเทวี” ตั้งตามพระนาม พระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระยศในขณะนั้น; พระยศต่อมาคือ สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี)

ประวัติศาสตร์[แก้]

พื้นที่เขตราชเทวีเดิมมีฐานะเป็นตำบล 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลทุ่งพญาไท ตำบลถนนพญาไท ตำบลถนนเพชรบุรี และตำบลมักกะสัน ซึ่งเกิดจากการยุบรวมตำบลเล็ก ๆ เข้าด้วยกัน และไปขึ้นกับอำเภอดุสิต และต่อมาในปี พ.ศ. 2509 จึงได้ย้ายมาขึ้นกับอำเภอพญาไท

เมื่อปี พ.ศ. 2515 ได้มีประกาศคณะปฏิวัติจัดตั้งกรุงเทพมหานครขึ้นแทนที่นครหลวงกรุงเทพธนบุรีซึ่งเกิดจากการรวมกันของจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี อำเภอพญาไทยกฐานะขึ้นเป็นเขตพญาไท ตำบล 4 ตำบลดังกล่าวจึงมีฐานะเป็นแขวง

ต่อมาในท้องที่เขตพญาไทมีความเจริญและมีผู้คนหนาแน่นขึ้น เพื่อประสิทธิภาพในการปกครอง การบริหารราชการ และการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยจึงมีประกาศให้แบ่งพื้นที่แขวง 4 แขวงดังกล่าวซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของเขตพญาไทจัดตั้งเป็น เขตราชเทวี จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2536 ได้มีการจัดตั้งเขตดินแดงขึ้น โดยนำพื้นที่บางส่วนของแขวงมักกะสันไปรวมด้วย

เหตุการณ์สำคัญ[แก้]

เหตุการณ์แก๊สระเบิดที่ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ พ.ศ. 2533 เกิดเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2533 มีผู้เสียชีวิต 89 ราย

19 มกราคม พ.ศ. 2557 ช่วงบ่าย เกิดการโจมตีด้วยระเบิดอีก ณ จุดชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลหน้าอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 28 คน ถาวร เสนเนียม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์ซึ่งอยู่ที่จุดชุมนุมเชื่อว่าเขาเป็นเป้าระเบิด ชายไม่ทราบรูปพรรณขว้างวัตถุระเบิดใกล้เตนท์ศูนย์สื่อหลังเวทีชุมนุมแล้วหลบหนีเมื่อเวลา 13.30 น.[2] รักษาความปลอดภัยที่จุดชุมนุมของเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทยบนถนนราชดำเนินนอกถูกนำส่งโรงพยาบาลจากกระสุนปืนจากมือปืนไม่ทราบตัวในเย็นวันเดียวกัน[3] มีผู้เสียชีวิตในวันดังกล่าว ได้แก่นายอานนท์ ไทยดี ซึ่งถูกระเบิดที่บริเวณจุดเกิดเหตุ[4]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขตราชเทวีแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 4 แขวง ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2561)
ทุ่งพญาไท Thung Phaya Thai
2.559
32,744
10,396
12,795.62
ถนนพญาไท Thanon Phaya Thai
1.136
9,057
10,874
7,972.71
ถนนเพชรบุรี Thanon Phetchaburi
1.148
14,551
11,593
12,675.08
มักกะสัน Makkasan
2.283
15,600
16,151
6,833.11
ทั้งหมด
7.126
71,952
49,014
10,097.10

ประชากร[แก้]

การคมนาคม[แก้]

ถนนสายสำคัญของเขตราชเทวี ได้แก่

ถนนสายรองลงไป เช่น ถนนนิคมมักกะสัน ซอยสุขุมวิท 3 (นานาเหนือ) ถนนโยธี ถนนรางน้ำ ถนนกำแพงเพชร 5 เป็นต้น

นอกจากนี้ ในพื้นที่เขตยังมี ทางรถไฟสายเหนือ และ ทางรถไฟสายตะวันออก ตัดผ่าน รวมทั้งมีเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟใต้ดิน และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานด้วย

ในส่วนของรถไฟ ในพื้นที่เขตมี สถานีรถไฟมักกะสัน ซึ่งตั้งอยู่บนเส้นทางรถไฟสายตะวันออก ใกล้กับโรงงานรถไฟมักกะสันของ การรถไฟแห่งประเทศไทย ในส่วนของรถไฟฟ้าลอยฟ้าและใต้ดิน มีสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส 3 สถานี ได้แก่ สถานีราชเทวี สถานีพญาไท และสถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ กับสถานีรถไฟใต้ดิน ได้แก่ สถานีเพชรบุรี และมีสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 3 สถานี ได้แก่ สถานีมักกะสัน สถานีพญาไท และสถานีราชปรารภ

ส่วนการสัญจรทางน้ำ ในพื้นที่เขตมี คลองแสนแสบ เป็นคลองเขตแดนทางทิศใต้ของเขต ในอดีตท่าเรือที่บริเวณ ประตูน้ำ เป็นแหล่งขนถ่ายสินค้าทางน้ำที่มาทางเรือตามคลองแสนแสบที่เคยคึกคักมาก ในปัจจุบันการสัญจรทางน้ำก็ยังมีอยู่ คือ เรือโดยสารคลองแสนแสบ

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ อันเป็นจุดชุมทางสำคัญที่มีรถประจำทางผ่านหลายสาย และยังเป็นจุดผ่านของรถไฟฟ้าบีทีเอสด้วย ก็ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตราชเทวี นอกจากนั้นในบริเวณรอบอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิยังมีท่ารถตู้จากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่างๆ ด้วย

แผ่นลอนผนัง-ลอนฝ้า สีครีม

แผ่นลอนผนัง-ลอนฝ้า สีครีม แผ่นลอนผนัง-ลอนฝ้า สีครีม เป็ […]

พญาไท ทำหลังคาห้องครัว

พญาไท ทำหลังคาห้องครัว พญาไท ทำหลังคาห้องครัว เอ็มเค เม […]

ราชเทวี ยกนิ้วให้เรา LK153

ราชเทวี ยกนิ้วให้เรา LK153 ราชเทวี ยกนิ้วให้เรา LK153 เ […]

มักกะสัน หลังคาเมทัลชีท

มักกะสัน หลังคาเมทัลชีท มักกะสัน หลังคาเมทัลชีท เอ็มเค […]

Call Now Button