ทุ่งเศรษฐี ลูกหมุน : ระบายอากาศ พร้อมแผ่นฐาน ทุ่งเศรษฐี […]
Category Archives: ซอยซอยทุ่งเศรษฐี
ซอยซอยทุ่งเศรษฐี
ซอยซอยทุ่งเศรษฐี is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google pagesearch by focus keyword name in category.
ซอยซอยทุ่งเศรษฐี เป็นแขวงหนึ่งใน 3 แขวงของเขตประเวศ
เขตประเวศ เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตศูนย์ชุมชนชานเมือง แหล่งงานและการบริการเพื่อรองรับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ที่ตั้งและอาณาเขต[edit]
เขตประเวศตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตสะพานสูง มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3701 (ถนนคู่ขนานมอเตอร์เวย์ด้านซ้าย) เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตลาดกระบังและอำเภอบางพลี (จังหวัดสมุทรปราการ) มีคลองแม่จันทร์ คลองตาพุก คลองขันแตก คลองสิงห์โต คลองปากน้ำ และคลองสลุดเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอบางพลี (จังหวัดสมุทรปราการ) และเขตบางนา มีแนวคันนาแบ่งเขตการปกครองระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรปราการ คลองต้นตาล คลองปลัดเปรียง คลองหนองตาดำ คลองสาหร่าย และคลองเคล็ดเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางนา เขตพระโขนง และเขตสวนหลวง มีคลองเคล็ด คลองตาสาด (คลองคู้) คลองหนองบอน คลองประเวศบุรีรมย์ ลำรางหลังหมู่บ้านเอื้อสุข และคลองบึงบ้านม้าเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติ[edit]
เขตประเวศเดิมมีฐานะเป็น ตำบลประเวศ เป็นเขตการปกครองของอำเภอพระโขนง จังหวัดพระประแดง ซึ่งต่อมาได้ย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนครในปี พ.ศ. 2470[2] เมื่อเวลาผ่านไป ท้องที่อำเภอพระโขนงมีสภาพเป็นชุมชน ย่านการค้า อุตสาหกรรม และที่พักอาศัยเพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. 2506 ทางราชการจึงได้ตั้งสุขาภิบาลประเวศขึ้นครอบคลุมพื้นที่ตำบลประเวศ ตำบลสวนหลวง ตำบลดอกไม้ ตำบลหนองบอนทั้งตำบล รวมถึงบางส่วนของตำบลบางจากและตำบลบางนา[3] และในปี พ.ศ. 2507 พื้นที่ส่วนใหญ่ก็ได้ถูกโอนไปขึ้นกับเทศบาลนครกรุงเทพ (ซึ่งขยายเขตออกมาเป็นครั้งที่ 3) เหลือเพียงตำบลประเวศและตำบลดอกไม้ที่ยังคงอยู่ในเขตสุขาภิบาล[4]
ในปี พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี[5] และในปี พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร[6] ซึ่งได้ยกเลิกการปกครองแบบสุขาภิบาลและเทศบาล รวมทั้งเปลี่ยนคำเรียกหน่วยการปกครองใหม่จากอำเภอและตำบลเป็นเขตและแขวงตามลำดับ ตำบลประเวศจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงประเวศ เป็นพื้นที่การปกครองของสำนักงานเขตพระโขนง
ภายหลังเขตพระโขนงมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น รวมทั้งพื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2532 กรุงเทพมหานครจึงได้จัดตั้งสำนักงานเขตพระโขนง สาขา 2 (ประเวศ) ขึ้นดูแลแขวงประเวศ แขวงหนองบอน แขวงดอกไม้ และแขวงสวนหลวง (ต่อมาแขวงสวนหลวงโอนไปอยู่ในการดูแลของสำนักงานเขตพระโขนง สาขา 3) และในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยได้แบ่งพื้นที่ทางทิศตะวันออกของเขตพระโขนงตั้งเป็น เขตประเวศ[7] แบ่งออกเป็น 4 แขวง ซึ่งรวมแขวงสวนหลวงไว้ด้วยและคงฐานะเป็นสำนักงานเขตประเวศ สาขาสวนหลวง[8] จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2537 จึงแยกออกไปเป็นเขตสวนหลวง[9]
ต่อมาในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ได้ประกาศกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตการปกครองของเขตประเวศใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยรวมพื้นที่แขวงสะพานสูง (เขตบึงกุ่ม) และหมู่ที่ 7-12 แขวงประเวศ (พื้นที่เขตประเวศทางด้านเหนือของถนนคู่ขนานมอเตอร์เวย์ด้านซ้าย) ไปจัดตั้งเป็นเขตสะพานสูง[10]
การแบ่งเขตการปกครอง[edit]
เขตประเวศมีหน่วยการปกครองย่อย 3 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2562) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2562) |
ความหนาแน่นประชากร (ธันวาคม 2562) |
---|---|---|---|---|---|
ประเวศ | Prawet |
22.81
|
87,475
|
35,922
|
3,834.94
|
หนองบอน | Nong Bon |
14.51
|
41,816
|
23,813
|
2,881.87
|
ดอกไม้ | Dokmai |
15.18
|
51,478
|
29,873
|
3,391.17
|
ทั้งหมด |
52.500
|
180,769
|
89,608
|
3,443.21
|
ประชากร[edit]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตประเวศ[11] |
---|
เหตุการณ์สำคัญ[edit]
- 4 กันยายน พ.ศ. 2537 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด ศูนย์การค้า ซีคอนสแควร์ บนเนื้อที่ 77 ไร่ ริมถนนศรีนครินทร์
การคมนาคม[edit]
ทางบก[edit]
ถนนสายหลัก ได้แก่
ถนนสายรองและทางลัดสำคัญ ได้แก่
|