Category Archives: เขตมีนบุรี

เขตมีนบุรี

เขตมีนบุรี is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by address the focus keyphrase name in category.

เขตมีนบุรี Khet Min Buri is one of 50 districts of กรุงเทพมหานคร Bangkok, Thailand.

สำนักงานเขตมีนบุรี – กรุงเทพมหานคร

เขตมีนบุรี – วิกิพีเดีย

สำนักงานเขต มีนบุรี – หน้าหลัก | Facebook

บริษัท เอ็มเค เมทัลชีท โปรดักส์ จำกัด

MK Metalsheet Products Company Limited

เขตมีนบุรี เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ่

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตมีนบุรีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตคลองสามวา มีคลองพระยาสุเรนทร์ 1 (กีบหมู) ลำรางคูคต ซอยหทัยราษฎร์ 29 (โชคอนันต์) ถนนหทัยราษฎร์ ลำรางโต๊ะสุข คลองเจ๊ก ลำรางสามวา คลองสามวา ซอยนิมิตใหม่ 5 (เหมือนสวาท) ถนนนิมิตใหม่ ซอยนิมิตใหม่ 8 (วีแสงชัย) คลองลำบึงไผ่ และคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตหนองจอก มีลำรางข้างซอยราษฎร์อุทิศ 70 คลองแยกคลองลำหินฝั่งใต้ คลองลำหินฝั่งใต้ คลองลำต้นไทร และคลองลำนกแขวกเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศใต้ ติดต่อกับเขตลาดกระบัง มีคลองบึงใหญ่ ลำรางตาทรัพย์ แนวคันนาผ่านถนนคุ้มเกล้า คลองตาเสือ ลำรางศาลเจ้า ลำรางคอวัง คลองสองต้นนุ่น และคลองลำนายโสเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตสะพานสูงและเขตคันนายาว มีคลองลาดบัวขาว คลองแสนแสบ และคลองบางชันเป็นเส้นแบ่งเขต

ที่มาของชื่อเขต[แก้]

คำว่า มีนบุรี แปลว่า “เมืองปลา” เป็นนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้กับเมืองใหม่ที่ตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2445[3] โดยรวมอำเภอคลองสามวา อำเภอแสนแสบ อำเภอหนองจอก และอำเภอเจียรดับ (ปัจจุบันอยู่ในเขตหนองจอก) เข้าไว้ในเขตการปกครองของเมือง เหตุที่ใช้ชื่อว่าเมืองปลาเนื่องจากตำบลแสนแสบเป็นบริเวณที่มีบ่อปลามาก และเพื่อให้สอดคล้องกับชื่อเมืองธัญญบุรีที่แปลว่า “เมืองข้าว”[3]

ประวัติ[แก้]

เขตมีนบุรีในอดีตเป็นท้องที่หนึ่งของ อำเภอคลองสามวา ซึ่งเป็นอำเภอหนึ่งทางทิศตะวันออกของมณฑลกรุงเทพ ต่อมาใน พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้รวมท้องที่อำเภอคลองสามวากับอำเภอข้างเคียงอีก 3 อำเภอตั้งขึ้นเป็นเมืองใหม่และพระราชทานนามว่า “เมืองมีนบุรี[4] อำเภอคลองสามวาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอเมือง[3] เนื่องจากเป็นที่ตั้งของเมือง (จังหวัด) แห่งนี้

ต่อมาใน พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดพระนคร เพื่อประหยัดงบประมาณราชการ[5] เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อำเภอที่เป็นที่ตั้งของจังหวัดมีนบุรีเดิมจึงมีชื่อเรียกว่า อำเภอมีนบุรี จากนั้นกระทรวงมหาดไทยได้ตั้งสุขาภิบาลมีนบุรีขึ้นใน พ.ศ. 2498[6] ประกาศตั้งตำบลทรายกองดินใต้ แยกจากตำบลทรายกองดินใน พ.ศ. 2505[7] และขยายเขตสุขาภิบาลมีนบุรีให้ครอบคลุมทั้งอำเภอด้วย[8] ในปีถัดมา

อำเภอมีนบุรีได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตมีนบุรี หลังจากการรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานครเมื่อ พ.ศ. 2515 แบ่งเขตการปกครองย่อยเป็นแขวง รวม 7 แขวง และในที่สุดเมื่อ พ.ศ. 2540 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี แยก 5 แขวงทางด้านเหนือของเขต ไปจัดตั้งเป็นเขตคลองสามวา[9] ทำให้เขตมีนบุรีเหลือพื้นที่ปกครองอยู่ 60 ตารางกิโลเมตรเศษ ใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของกรุงเทพมหานคร

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขตมีนบุรีแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง โดยใช้ถนนร่มเกล้าฟากตะวันออกและคลองแสนแสบฝั่งเหนือเป็นเส้นแบ่ง ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2561)
มีนบุรี Min Buri
28.459
97,214
45,967
3,415.93
แสนแสบ Saen Saep
35.186
45,097
13,855
1,281.67
ทั้งหมด
63.645
142,311
59,822
2,236.01

ประชากร[แก้]

ตราสัญลักษณ์ประจำเขต[แก้]

ตราสัญลักษณ์ประจำเขตมีนบุรี

ตราสัญลักษณ์ประจำเขตมีนบุรี มีลักษณะเป็นตรารูปวงกลม มีปลาตะเพียนสีทองอยู่ตรงกลาง พื้นหลังด้านล่างเป็นพื้นน้ำสีฟ้า มีรวงข้าวสีเขียว สองข้างล้อมรอบด้วยคำว่า สำนักงานเขตมีนบุรี เป็นภาษาอังกฤษ และภาษาไทย โดยสื่อความหมายถึงความเป็นเมืองปลา ตามความหมายของชื่อที่ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเมืองมีนบุรีในอดีต และปลาที่ขึ้นชื่อคือปลาตะเพียน[11]

การคมนาคม[แก้]

ทางสายหลักในพื้นที่เขต ได้แก่

ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่

การคมนาคมอื่น ๆ

ทางแยกในพื้นที่

โครงการคมนาคมในอนาคต

สถานที่สำคัญในเขตมีนบุรี[แก้]

พิพิธภัณฑ์[แก้]

  • พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเมืองมีนบุรี (เรือนไม้สัก ศาลากลางจังหวัดมีนบุรีเดิม)
  • พิพิธภัณฑ์เรือจิ๋ว และอู่เรือจิ๋ว

ตลาดและศูนย์สินค้าชุมชน[แก้]

  • ตลาดเก่ามีนบุรี
  • ตลาดนัดจตุจักร 2 มีนบุรี (ตลาดสุขาภิบาลเดิม)
  • ตลาดน้ำขวัญ-เรียม

เขตมีนบุรี ทำหลังคาโค้ง

Website : — เอ็มเค เมทัลชีท, เอ็มเค เมทัลชีท บางน […]

มีนบุรี ยกนิ้วให้เรา LK158

มีนบุรี ยกนิ้วให้เรา LK158 มีนบุรี ยกนิ้วให้เรา LK158 เ […]

มีนบุรี กดไลค์ให้เรา LK148

มีนบุรี กดไลค์ให้เรา LK148 มีนบุรี กดไลค์ให้เรา LK148 เ […]

เขตมีนบุรี MK Metalsheet ลูกหมุน

เขตมีนบุรี MK Metalsheet ลูกหมุน เขตมีนบุรี MK Metalshe […]

มีนบุรี ติดตั้งแผ่นใส

มีนบุรี ติดตั้งแผ่นใส มีนบุรี ติดตั้งแผ่นใส เอ็มเค เมทั […]

Call Now Button