หลังคาเมทัลชีท หนา 0.30 สีอะลูซิงค์ หลังคาเมทัลชีท หนา […]
Category Archives: ถนนบางบอน 4
ถนนบางบอน 4
ถนนบางบอน 4 is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google pagesearch by focus keyword name in category.
ถนนบางบอน 4 เป็นถนนสายหลักของ ของเขตหนองแขม
เขตหนองแขม เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม สภาพเศรษฐกิจดั้งเดิมขึ้นอยู่กับการเกษตรกรรม แต่ปัจจุบันสภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากชุมชนเมืองขยายตัวจากพื้นที่ชั้นใน มีผู้ย้ายถิ่นเข้ามาอยู่อาศัยและประกอบอาชีพมากขึ้น พื้นที่การเกษตรจึงเริ่มถูกเปลี่ยนแปลงเป็นสถานที่ราชการ สถานศึกษา โรงพยาบาล สาธารณสุข สถานีโทรทัศน์ โรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย์ และหมู่บ้านจัดสรร
ที่ตั้งและอาณาเขต[edit]
ตั้งอยู่บนฝั่งธนบุรี (ทางตะวันตกสุดของกรุงเทพมหานคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตทวีวัฒนา มีคลองบางไผ่เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางแค มีคลองทวีวัฒนา ถนนเพชรเกษม ซอยเพชรเกษม 69 (อินทาปัจ) และถนนบางบอน 3 เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางบอนและอำเภอกระทุ่มแบน (จังหวัดสมุทรสาคร) มีคลองหนามแดงเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอกระทุ่มแบน (จังหวัดสมุทรสาคร) และอำเภอสามพราน (จังหวัดนครปฐม) มีคลองสี่วา (คลองตากล่อม) คลองภาษีเจริญ คลองศรีสำราญ แนวแบ่งเขตการปกครองกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรสาคร และแนวแบ่งเขตการปกครองกรุงเทพมหานครกับจังหวัดนครปฐมเป็นเส้นแบ่งเขต
ที่มาของชื่อเขต[edit]
บริเวณแขวงหนองแขมในอดีตมีสภาพเป็นที่ราบลุ่ม บางแห่งมีน้ำท่วมขังตลอด (หนองน้ำ) และมีต้นแขม (หญ้าขนาดสูงชนิดหนึ่ง) ขึ้นอยู่หนาแน่นเป็นพง ก่อนหน้านั้นเคยมีชื่อเรียกว่า “หนองน้ำแดง” แต่ถูกลืมไปแล้ว[3] จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2413 พระวินัยธร (คำ) เจ้าอาวาสวัดเชิงเลน ตำบลบางช้าง อำเภอสามพราน เมืองนครปฐม ได้สร้างวัดขึ้นที่ริมหนองน้ำแห่งหนึ่งและตั้งชื่อวัดว่า “วัดหนองแขม”[4] ตามลักษณะของพื้นที่ ส่วนชาวบ้านก็ได้ขุดบ่อไว้ริมหนองเพื่ออาศัยใช้น้ำจืดและเรียกว่า “บ่อหนองแขม”[4]
ประวัติ[edit]
ต่อมาบริเวณหนองแขมซึ่งมีคลองภาษีเจริญตัดผ่านมีความเจริญและมีผู้คนเพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง อำเภอหนองแขม ขึ้นตรงต่อกระทรวงนครบาล เนื่องจากทรงเล็งเห็นว่า พื้นที่บริเวณดังกล่าวน่าจะเป็นศูนย์กลางการพัฒนาในย่านฝั่งตะวันตกของพระนครได้[4] โดยอำเภอหนองแขมสมัยนั้นแบ่งออกเป็น 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลหนองแขม ตำแหน่งกำนันมีชื่อว่าขุนขจรหนองแขมเขตร์, ตำบลหนองค้างพลู มีขุนประเทศหนองแขมขันธ์เป็นกำนัน, ตำบลหลักหนึ่ง มีขุนหนองแขมกนิษฐศรเป็นกำนัน และตำบลหลักสอง มีขุนภิบาลเขตร์นครเป็นกำนัน ตั้งที่ว่าการอำเภออยู่หน้าโรงจับกัง (บ้านพักคนงาน) ของโรงสีเหลียงเฮงฮวดในปัจจุบัน[4] จนถึงปี พ.ศ. 2452 จึงย้ายไปตั้งริมคลองภาษีเจริญฝั่งเหนือ บริเวณปากคลองมหาศร หมู่ที่ 5 ตำบลหนองแขม[4]
ครั้นในปี พ.ศ. 2472 ทางการได้ลดฐานะอำเภอหนองแขมลงเป็น กิ่งอำเภอหนองแขม ขึ้นกับอำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี กระทรวงมหาดไทยได้ยกฐานะท้องที่ริมคลองภาษีเจริญ (บางส่วน) ของตำบลหนองแขมขึ้นเป็นสุขาภิบาลหนองแขมในปี พ.ศ. 2499[5] จนถึงปี พ.ศ. 2501 เมื่อสภาพท้องที่มีความเจริญมากขึ้น จึงมีพระราชกฤษฎีกาให้จัดตั้ง อำเภอหนองแขม ขึ้นอีกครั้ง[6] ประกอบด้วยเขตการปกครองย่อย 3 ตำบล เนื่องจากตำบลหลักหนึ่งซึ่งภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นตำบลบางแคนั้น[4] ยังคงอยู่ในการปกครองของอำเภอภาษีเจริญ[7]
จนกระทั่งมีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนครเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีในปี พ.ศ. 2514[8] และเปลี่ยนรูปแบบเป็นกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2515[9] โดยยุบเลิกการปกครองท้องถิ่นแบบสุขาภิบาล รวมทั้งเปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครองใหม่ อำเภอหนองแขมจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตหนองแขม และในปี พ.ศ. 2521 ได้ย้ายที่ว่าการเขตจากปากคลองมหาศร มาตั้งที่หมู่ที่ 7 แขวงหนองค้างพลู ซึ่งเป็นที่ตั้งสำนักงานเขตปัจจุบัน[4]
ต่อมาในปี พ.ศ. 2541 กระทรวงมหาดไทยได้แยกแขวงหลักสอง (เฉพาะทางฟากตะวันออกของซอยเพชรเกษม 69 และถนนบางบอน 3) ไปจัดตั้งเป็นเขตบางแค[10] ส่วนพื้นที่แขวงหลักสองเดิม (ที่อยู่ทางฟากตะวันตก) ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของแขวงหนองค้างพลูและแขวงหนองแขม[11]
การแบ่งเขตการปกครอง[edit]
เขตหนองแขมแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2562) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2562) |
ความหนาแน่นประชากร (ธันวาคม 2562) |
---|---|---|---|---|---|
หนองแขม | Nong Khaem |
18.789
|
80,394
|
30,333
|
4,278.78
|
หนองค้างพลู | Nong Khang Phlu |
17.036
|
75,960
|
31,549
|
4,458.79
|
ทั้งหมด |
35.825
|
156,354
|
61,882
|
4,364.38
|
ประชากร[edit]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตหนองแขม[12] |
---|
การคมนาคม[edit]
ทางสายหลักในพื้นที่เขตหนองแขม ได้แก่
- ถนนเพชรเกษม ตั้งแต่คลองทวีวัฒนาจนสุดเขตกรุงเทพมหานคร
- ถนนทวีวัฒนา
- ถนนพุทธมณฑล สาย 3 (เพชรเกษม 104)
- ถนนมาเจริญ (เพชรเกษม 81 รวมถนนหนองแขม-บางบอน)